Aug
เราต่างรูปจัก ขนมปัง กันแล้วว่าเป็น ขนม ที่มีแป้งเป็นส่วนประกอบ ผสมกับน้ำ และยีสต์ หรือผงฟู แต่คุณรู้ไหมว่า ขนมปัง มีต้นกำเนิดมาตั้งแต่อดีตกาลนานมาแล้ว มาดูกันว่า ขนมปัง มีประวัติความเป็นมาอย่างไร วันนี้เรามีเนื้อหามาให้ได้ชมกัน
ประวัติ ขนมปัง ในไทย
คำว่า ขนมปัง ( bread ) ประเทศไทยรับคำศัพย์นี้ มาตรง ๆ จากภาษาฝรั่งเศส คือ Pan อ่านว่า แปง แต่คนไทยเห็นว่ามันเป็นขนมมากกว่า จึงได้เรียกว่า ขนม ขึ้นต้นคำว่า แปง จนกลายมาเป็น ขนมปัง ตามที่คนปัจจุบันเรียก ในไทยเรามี ประวัติ ขนมปัง ในช่วงสมัยอยุธยา ในตอนที่ชาวยุโรปเริ่มเข้ามาอยู่ใน ประเทศไทย ซึ่งพวกเขาได้นำ แป้ง สาลีเข้ามาด้วย ซึ่งเป็นวัตถุดิบสำคัญในการทำ ขนมปัง เพราะเขานิยมทาน ขนมปัง กันยังไม่ชินกับการทานข้าวแบบเรา ซึ่ง ขนมปัง มีวิธีการกินและการเก็บ ที่ง่ายกว่าข้าวหุงมาก อยู่นาน ได้หลายวัน
ประวัติ ขนมปัง ในอียิป
ในสมัยอียีปต์โบราณนั้น ชาวอียีปต์โบราณ ส่วนมากจะเป็นคนจน ในขั้นตอนการทำ ขนม ทุกครั้ง มันจะได้ทิ้งก้อนแป้งเก่าไปผสมกับแป้งที่ผสมเสร็จใหม่ๆ ทำให้แป้งที่สุกแล้วนั้น เบา ฟู และมีรสอร่อยขึ้น โดยมีหลักฐานจารึกตามจิตกรรมฝาผนังในสุสานหลาย ๆ แห่ง นอกจากนี้ มีการค้นพบซากโบราณของหินโม่แป้ง และ เตาอบ ขนมปัง ( bread )ซึ่งทำจากดินมีรูปร่างเป็นทรงกรวย สันนิษฐานได้ว่าเป็นต้นแบบของเตา ทันดูร
ยุคอียิปต์โบราณ แบ่ง ขนมปัง ( bread )ออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. ขนมปัง แบบฟู เป็น ขนมปัง ที่เรานิยมทานกัน
2. Matzos เป็น ขนมปัง ที่มีลักษณะแบน มักจะทำ และทานกันเนื่องในโอกาศพิเศษทางศาสนาเท่านั้น
ขนมปัง ( bread )มีส่วนผสมหลัก คือ แป้งสาลี , น้ำ , ยีสต์ , เกลือ และ ส่วนผสมอื่น ๆ เช่น นม , ไข่ , น้ำตาล ,เนย , ผลไม้ ฯลฯ เป็นส่วนผสมซึ่งทั้งนี้ก็แล้วแต่สูตรที่ทานกัน ทำให้ ขนมปัง มีสูตรมากมาย หลากหลาย
ส่วนผสมที่สำคัญของ ขนมปัง ( bread )
1. ข้าวสาลี
ขนมปัง ( bread )ผลิตมาจากโปรตีนของ แป้งสาลี ซึ่งเป็นแป้งที่นิยมนำมาทำ ขนมปัง ( bread )และเป็นแป้งที่ดีที่สุดในการทำ ขนมปัง มี กลูเตน เป็นโปรตีนที่มีอยู่สูงใน ข้าวสาลี ซึ่งต่างจากข้าวเจ้า ที่มีในขณะที่ข้าวเจ้ามี กลูเตน อยู่เพียงเล็กน้อยเท่านั้น ทำให้ข้าวเจ้าไม่สามารถนำมาทำขนมปังได้เหมือน แป้งสาลี
2. ผงฟู
ผงฟู คือ โซเดียมไบคาร์บอร์เนต ก็ส่วนสำคัญในการทำ ขนมปัง ( bread )ซึ่งจะใช้แทนการใช้ยีสต์ เพราะเมื่อผงฟูผสมกับน้ำ ก็จะเกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เช่นเดียวกับที่ยีสต์ทำ แต่ก็ไม่ควรใส่ในปริมาณมากเกินไป เพราะจะทำให้มีรสชาติเฝื่อนขม และ การฟูของ ขนมปัง ( bread )ก็จะหยาบกว่าการใช้ยีสต์ แต่ข้อดีคือ ใช้ได้ง่ายกว่า และก็เก็บรักษาได้นานกว่ากัน ผงฟูมีด้วยกันสองสูตรคือ สูตรหนึ่ง คือ ผงฟูที่จะปล่อยก๊าซออกมาครั้งเดียวทั้งหมดตอนที่เราผสมเข้ากับเนื้อ ขนมปัง ( bread )สูตรสอง คือ ผงฟูที่จะปล่อยก๊าซออกมาสองครั้ง คือ ตอนที่ผสมกับเนื้อ ขนมปัง ( bread )และ อีกครั้งตอนที่โดนความร้อนในเตาอบ
3. ยีสต์
ยีสต์ คือ ส่วนสำคัญในการทำ ขนมปัง ( bread )โดยจะถูกเติมลงไปใน ขนมปัง เพื่อให้ขนมปังพองฟู เพราะยีสต์จะกินน้ำตาลที่อยู่ในแป้ง และ ผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา ทำให้ ขนมปัง มีรูปร่างเป็นก้อน ยีสต์ที่ใช้ในการทำ ขนมปัง ( bread )มีหลายรูปแบบ ทั้งแบบสด และ แบบผงเป็นต้น การใช้ยีสต์ที่ถูกต้อง จะต้องทำการปลุกยีสต์เสียก่อน โดยการละลายน้ำในอุณหภูมิประมาณ 38 องซาเซลเซียส การใช้ยีสต์จึงทำได้ยากกว่า แต่ให้ผลดีที่จะให้เนื้อ ขนมปัง ( bread )และ รสชาติดีกว่าการใช้ผงฟู ยีสต์ที่ใช้โดยทั่วไป คือ Saccharomyces cerevisiae
อ่านบทความเพิ่มเติม
เรื่องน่ารัก น่ารู้ ของ คุกกี้ ไปดูกันเลย
เค้กกล้วยหอม อร่อยโดนๆ ด้วยวิธีทำง่ายๆ